ครั้งที่ 6
วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561
วันนี้มีเพื่อนไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน วิจัย บทความ และตัวอย่างการสอน
วิจัยของนางสาวขนิษฐา สมานมิตร นำเสนอเรื่องการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยผ่านการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เด็กจะได้ทั้งหมดทุกด้าน
1.ร่างการ - การระบายสี ได้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
2.ด้านอารมณ์-จิตใจ - ได้กำลังใจจากคุณครูที่คอยชื่นชม
3.ด้านสังคม - ได้พูดคุยกับเพื่อน คุณครู ทำกิจกรรมร่วมกัน
4.ด้านสติปัญญา - ได้สังเกตสิ่งรอบตัว รู้เรื่องรูปทรง
นางสาวอรอุมา ศรีท้วม นำเสนอ
บทความ การส่งเสริมคณิตศาสตร์เด็ก3-4ปี ให้เด็กเรียนรู้รูปธรรมคือ จมูก ลิ้น กาย สัมผัส
5-6 ปี ให้เด็กเรียนรู้จากนามธรรม เช่นจัดสภาพแวดล้อมที่บ้านเรียงลำดับชั้นวาง
กางเกงเสื้อ การวางช้อนกับส้อม ให้เด็กได้จับคู่
สอนเนื้อหาข้อมูลเพิ่มเติมจากเดิม
🎯ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
ประกอบด้วยหัวข้อของเนื้อหาหรือทักษะ
1. การนับ (Counting)
2. ตัวเลข (Number)
3. การจับคู่ (Matching)
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ (Comparing)
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and Space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซต (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning)
12. การอนุรักษ์ หรือ การคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)
🎯ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
ประกอบด้วยหัวข้อของเนื้อหาหรือทักษะ
1. การนับ (Counting)
2. ตัวเลข (Number)
3. การจับคู่ (Matching)
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ (Comparing)
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and Space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซต (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning)
12. การอนุรักษ์ หรือ การคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)
1.เรียนจากของจริง ใช้ของจริง
ใช้รูปภาพแทนของจริง
กึ่งรูปภาพ
นามธรรม
2.เริ่มง่ายๆใกล้ตัวเด็ก จากง่ายไปยาก
3.สร้างความเข้าใจรู้ความหมายมากกว่าจำ
4.ให้คิดจากปัญหาในชีวิตประจำวันเพื่อขยายประสบการณ์ให้สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม
5.สนุก สนาน ได้ความรู้ด้วย
6.เข้าใจ สรุปเป็นกฏเกณฑ์เพื่อจำเป็นอันดับสุดท้าย
7.ทบทวน ตั้งคำถามส่งเสริมให้เด็กได้คิด อย่างไร ทำไม พราะอะไร ถามคำถามปลายเปิด
นามธรรม
2.เริ่มง่ายๆใกล้ตัวเด็ก จากง่ายไปยาก
3.สร้างความเข้าใจรู้ความหมายมากกว่าจำ
4.ให้คิดจากปัญหาในชีวิตประจำวันเพื่อขยายประสบการณ์ให้สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม
5.สนุก สนาน ได้ความรู้ด้วย
6.เข้าใจ สรุปเป็นกฏเกณฑ์เพื่อจำเป็นอันดับสุดท้าย
7.ทบทวน ตั้งคำถามส่งเสริมให้เด็กได้คิด อย่างไร ทำไม พราะอะไร ถามคำถามปลายเปิด
บรรกาศในห้องเรียน : น่าเรียนเพื่อนอาจารย์มีความกะตือรือร้นในการเรียนและการสอน
ประเมินวิธีการสอน : ทบทวนเนื้อหาการเรียนจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ให้จำและเข้าใจง่ายมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น